TH63106B - การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ - Google Patents

การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ

Info

Publication number
TH63106B
TH63106B TH701002937A TH0701002937A TH63106B TH 63106 B TH63106 B TH 63106B TH 701002937 A TH701002937 A TH 701002937A TH 0701002937 A TH0701002937 A TH 0701002937A TH 63106 B TH63106 B TH 63106B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
cellulose
insert
alkali
pulp
fibers
Prior art date
Application number
TH701002937A
Other languages
English (en)
Other versions
TH109162B (th
TH109162A (th
Inventor
แอนดรูว์ ไวท์แมน นายเดอริค
โมเบียส นายไฮนซ์ฮอร์สท์
คลอส ฟิสเชอร์ นายฮาบิล
Original Assignee
นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์
นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก
นาย บุญมาเตชะวณิช
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายบุญมา เตชะวณิช นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก นาย บุญมาเตชะวณิช นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์ นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์, นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก, นาย บุญมาเตชะวณิช, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายบุญมา เตชะวณิช นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก นาย บุญมาเตชะวณิช นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์ นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นางสาว ปรับโยชน์ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH109162B publication Critical patent/TH109162B/th
Publication of TH109162A publication Critical patent/TH109162A/th
Publication of TH63106B publication Critical patent/TH63106B/th

Links

Abstract

DC60 (12/02/59) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ การประดิษฐ์นี้เกี่ยว ข้อง โดยเฉพาะ กับวิธีการผลิตแอลคาไลเซลลูโลสซึ่งรวมถึงขั้นตอนการจัดเตรียมเยื่อ และการ นำเยื่อมา ผ่านการปฏิบัติด้วยด่างเพื่อผลิตแอลคาไลเซลลูโลสในสภาพที่มีสารแทรกซึ่งสามาถ เข้าสู่รูในที่ว่าง ระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใยเซลลูโลส สารแทรกนี้เข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใย ฝอยของเส้นใย เซลลูโลส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่ว่างซึ่งเกิดขึ้นโดยการกำจัดเฮมิ-เซลลูโลส จึงลดแนว โน้มในการยุบตัว ที่จะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ในระหว่างขั้นตอนการบีบภายหลัง ตัวอย่างของสาร แทรกที่เหมาะสม คือ พอลิเอธิลีนไกลคอล, พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ และพอลิอะคริเลต แก้ไข 12/2/59 การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ กับวิธีการผลิตแอลคาไลเซลลูโลสซึ่งรวมถึงขั้นตอนการจัดเตรียมเยื่อ และการนำเยื่อมา ผ่านการปฏิบัติด้วยด่างเพื่อผลิตแอลคาไลเซลลูโลสในสภาพที่มีสารแทรกซึ่งสามารถเข้าสู่รูในที่ว่าง ระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใยเซลลูโลส สารแทรกนี้เข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใย เซลลูโลส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่ว่างซึ่งเกิดขึ้นโดยการกำจัดเฮมิ-เซลลูโลส จึงลดแนวโน้มในการยุบตัว ที่จะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ในระหว่างขั้นตอนการบีบภายหลัง ตัวอย่างของสารแทรกที่เหมาะสม คือ พอลิเอธิลีนไกลคอล, พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ และพอลิอะคริเลต -------------------------------------------------------------------------- การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ การประดิษฐ์นี้เกี่ยว ข้องโดยเฉพาะ กับวิธีการผลิตแอลดาไลเซลลูโลสซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนการจัดเตรียมเยื่อ และการ นำเบื่อมาผ่านการปฏิบัติด้วยต่างเพื่อผลิตแอลดาไลเซลลูโลสในสภาพที่มีสารแทรกซึ่งสามาถ เข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใยเซลลูโลส สารแทรกนี้เข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใย ฝอยของเส้นใยเซลลูโลส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่ว่างซึ่งเกิดขึ้นโดยการกำจัดเฮมิ-เซลลูโลส จึงลดแนว โน้มในการยุบตัวที่จะเกิดขึ้น ตัวอย่างเช่น ในระหว่างขั้นตอนการบีบภายหลัง ตัวอย่างของสาร แทรกที่เหมาะสม คือ พอลิเอธิลีนไกลคอล, พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ และพอลิอะคริเลต

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 12/2/59 1. วิธีการผลิตแอลคาไลเซลลูโลสที่รวมถึงขั้นตอนการจัดให้มีเยื่อ และการนำเยื่อไปสู่การ ปฏิบัติด้วยด่างเพื่อผลิตแอลคาไลเซลลูโลส; ที่ซึ่งเยื่อรวมถึง เส้นใยเซลลูโลสที่มีรูในที่ว่างระหว่าง เส้นใยฝอยที่ถูกทำใน้เกิดขึ้น: โดยการกระตุ้นเยื่อด้วยลำอิเล็กตรอน หรือโดยการปฏิบัติเยื่อด้วย NaOH 11(สูตร)3%; ที่ซึ่งการปฏิบัติด้วยด่างเกิดขึ้นโดยที่มีสารแทรก (spacer) อยู่ด้วยในรูปของไฮโดรฟิลิก พอลิเมอร์ที่ละลายได้หรือที่กระจายตัวได้ในสารละลายแอคเควียส และมีน้ำหนักโมเลกุล 1OOO ถึง 2500 และสามารถเข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใยเซลลูโลส 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุล 1250 ถึง 1750 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 2, ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุล 1400 ถึง 1600 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 3, ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุลประมาณ 1500 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อหนึ่งข้อใด, ที่ซึ่งสารแทรกสามารถก่อรูปสะพาน ไฮโดรเจน หรือส่วนเชื่อมโยงอีเธอร์กับโมเลกุลเซลลูโลส 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 5, ที่ซึ่งสารแทรกมีหมู่ไฮโดรฟิลิก 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 6, ที่ซึ่งหมู่ไฮโดรฟิลิก คือ หมู่คาร์บอกซิล, หมู่คาร์บอนิล หรือ ไฮดรอกไซด์ 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อหนึ่งข้อใด, ที่ซึ่งสารแทรก คือ พอลิเอธิลีน ไกลคอล, พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ หรือพอลิอะคริเลต 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อหนึ่งข้อใด, ที่ซึ่งปริมาณสารแทรกที่ใชั คือ 0.5 ถึง 2% (มวล/มวล) ซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนเซลลูโลส ------------------------------------------------------------ 1. วิธีการผลิตแอลคาไลเซลลูโลสที่ประกอบด้วยขั้นตอนการจัดเตรียมเยื่อ และการนำเยื่อ มาผ่านการปฏิบัติด้วยด่างเพื่อผลิตแอลคาไลเซลลูโลสในสภาพที่มีสารแทรกซึ่งสามาถ เข้าสู่รูในที่ว่างระหว่างเส้นใยฝอยของเส้นใยเซลลูโลส 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งสารแทรก คือ ไฮโดรเจนฟิลิกพอลืเมอร์ซึ่งละลายได้ หรือ กระจายตัวได้ในสารละลายแอคเควียส 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุล 1000 ถึง 2500 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุล 1250 ถึง 1750 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุล 1400 ถึง 1600 6 วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซึ่งพอลิเมอร์ชนิดละลายน้ำมีน้ำหนักโมเลกุลประมาณ 1500 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งสารแทรกสามารถถ่อรูปสะพาน ไฮโดรเจน หรือส่วนเชื่อมโยงอิเธอร์กับโมเลกุลเซลลูโลส 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่งสารแทรกมีหมู่ไฮโดรเจนฟิลิก 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งหมู่ไฮโดรเจนฟอลิก คือ หมู่คาร์บอกซิล, หมู่คาร์บอนิล หรือ ไฮดรอกไซค์ 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งสารแทรก คือ พอลิเอธิลีนไกลคอล, พอลิไวนิลแอลกอฮอร์ หรือพอลิอะคริเลต 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งปริมาณสารแทรกที่ใช้ คือ 0.5% ถึง 2% (มวล/มวล) ซึ่งมีพื้นฐานอยู่บนเซลลูโลส
TH701002937A 2007-06-13 การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ TH63106B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH109162B TH109162B (th) 2011-07-13
TH109162A TH109162A (th) 2011-07-13
TH63106B true TH63106B (th) 2018-06-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP5094854B2 (ja) パルプの反応性の強化
CN105121523B (zh) 多糖膜及其制备方法
RU2019129735A (ru) Полученный из табака наноцеллюлозный материал
US20140053995A1 (en) Method for spinning anionically modified cellulose and fibres made using the method
TW200736464A (en) A process for the production of paper
WO2012057684A1 (en) Process for the derivatization of cellulose
WO2017082900A1 (en) Production of carboxylated nanocelluloses
CN103588886A (zh) 一种易水分散纳米微晶纤维素及其制备方法
Hildebrandt et al. Self-reinforcing composites from commercial chemical pulps via partial dissolution with NaOH/urea
Ma et al. Facilitate hemicelluloses separation from chemical pulp in ionic liquid/water by xylanase pretreatment
WO2016195505A1 (en) Nanofibrillated cellulose for use in fluids for enhanced oil recovery
JP2013019065A (ja) 未修飾セルロースの中空繊維及びその紡糸法
CN103816817B (zh) 一种耐碱纤维素膜及其制备方法
TH63106B (th) การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ
RU2010138539A (ru) Способ получения гидрогеля нанокристаллической целлюлозы
Dai et al. TEMPO-mediated oxidation of cellulose in carbonate buffer solution
TH109162A (th) การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ
JP2000061277A (ja) セルロース架橋膜の製造方法
JP2016211125A5 (th)
KR20220041323A (ko) 셀룰로오스 나노섬유 필름 및 이의 제조방법
Arshada et al. Synthesis and characterization of CMC/PVA/PVP composite microfiltration membrane
TH109162B (th) การเสริมสภาพพร้อมเกิดปฏิกิริยาของเยื่อ
CN112552539B (zh) 低吸附疏水性纤维素膜及其制备方法和应用
JP2021507016A (ja) セルロースを酸化するための方法
CN114806205B (zh) 一种木质纤维基薄膜及其制备方法和应用