TH46078A - การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) - Google Patents

การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.)

Info

Publication number
TH46078A
TH46078A TH1003685A TH0001003685A TH46078A TH 46078 A TH46078 A TH 46078A TH 1003685 A TH1003685 A TH 1003685A TH 0001003685 A TH0001003685 A TH 0001003685A TH 46078 A TH46078 A TH 46078A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
wine
liquor
herbal
pegasus
alcohol
Prior art date
Application number
TH1003685A
Other languages
English (en)
Inventor
สาระสมบัติ พันตำรวจตรียงยุทธ
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH46078A publication Critical patent/TH46078A/th

Links

Abstract

DC60 (27/09/43) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) โดยนำพืชดังกล่าว มาทำเครื่องดื่มที่ไม่มีและมีแอลกอฮอล์ 1. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ นำส่วนของเพกา มาเติมด้วยน้ำสะอาดประมาณ 5 - 15 เท่า แล้วเติมด้วย สารช่วยย่อย 150-300 มิลลิกรัม/ลิตร แล้วให้ความร้อนหรือต้มให้เดือดประมาณ 10-20 นาที เติมน้ำตาลหรือ น้ำผึ้ง และตรวจสอบความหวานตามต้องการ (หากจะดื่มโดยใส่น้ำแข็งให้เพิ่มความหวาน) แล้วนำไปให้ ความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 85-100 องศาเซลเซียส อีก 10-30 นาที ปล่อยให้เย็นตามอุณหภูมิปกติ หรือนำไป ใส่ภาชนะ และปิดฝาแล้วต้มฆ่าเชื้อที่ 85-100 องศาเซลเซียส นาน 10-30นาที พร้อมจะใช้ดื่มเป็นเครื่องดื่มน้ำ สมุนไพรที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 2. เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ 2.1 การทำสุราแช่เพกา หรือไวน์เพกานำส่วนของพืชตระกูลเพกามาล้างและใช้เครื่องจักร หรือแรงกลทำเป็นชิ้นเล็กลงเติมน้ำสะอาด โดยอาจเติมวิตามินซี และปรับปริมาณกรด หลังจากนั้นเติม น้ำผึ้งหรือน้ำตาล ตรวจสอบความหวานให้อยู่ในช่วง 18-24 องศา Brix.เติมสารอาหารเสริมและสารเคมีต่าง ๆ ตามกำหนด ผสมให้คลุกเคล้ากัน แล้วหมัก (fermentation) ด้วยยีสต์ที่คัดเลือกสำหรับเพกาโดยเฉพาะ หมักที่อุณหภูมิควบคุมที่ 20- 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1-2 เดือน โดยบรรจุในภาชนะบรรจุเพื่อบ่ม (aging) อีก ประมาณ 1- 6 เดือน หรือนานกว่า ซึ่งหากประสงค์ให้กลิ่นรสดีขึ้น อาจใส่ชิ้นไม้โอ๊ค หรือปรุงกลิ่นรสเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ไวน์สมุนไพรที่มีกลิ่นรสชวนดื่มมากขึ้น 2.2 การทำบรั่นดีสมุนไพร นำสุราเเช่เพกา ซึ่งผ่านกระบวนการเป็นสุราแช่หรีอไวน์สมุนไพร แล้วไปกลั่นให้ได้แอลกอฮอล์ช่วง 35-70% โดยปริมาตร แล้วบ่มในภาชนะที่เหมาะสม หรือถังโอ๊คนาน 6-24 เดือน หรือนานกว่า กรองแล้วบรรจุในภาชนะแล้วปิดฝา 2.3 การทำไวน์คูลเลอร์สมุนไพร นำสุราแช่หรือไวน์สมุนไพรจากเพกามาเจือด้วยน้ำสะอาด หรือน้ำแร่ที่ไม่ทำให้รสชาดของสุราแช่ หรือไวน์สมุนไพรลดคุณภาพลง จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ช่วง 4-8% โดยปริมาตรแล้วปรุงกลิ่นรสแล้วทำการกรองก่อนลดอุณหภูมิให้ต่ำประมาณช่วง 0-5 องศาเซลเซียส แล้วอัดด้วยเเก๊ส CO2 แล้วบรรจุภาชนะปิดฝาสนิท 2.4 การทำสุราแช่สมุนไพรหรือไวน์สมุนไพรอย่างแรง นำสุราแช่หรือไวน์สมุนไพรจากเพกา มาผสมด้วยสุรากลั่นหรือแอลกอฮอล์จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ร้อยละ 18-25 โดยปริมาตร แล้วปรุง กลิ่นรสตามต้องการ บรรจุในภาชนะเเล้วปิดฝา การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) โดยนำพืชดังกล่าว มาทำเครื่องดื่มที่ไม่มีและมีแอลกอฮอล์ 1. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ นำส่วนของเพกา มาเติมด้วยนายสะอาดประมาณ 5 - 15 เท่า แล้วเดิมด้วย สารช่วยย่อย 150-300 มิลลิกรัม/ลิตร แล้วให้ความร้อนหรือต้มให้เดือดประมาณ 10-20 นาที เติมน้ำตาลหรือ น้ำผึ้ง และตรวจสอบความหวานตามต้องการ (หากจะดื่มโดยใส่น้ำแข็งให้เพิ่มความหวาน) แล้วนำไปให้ ความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 85-100 ํ ซ อีก 10-30 นาที ปล่อยให้เย็นตามอุณหภูมิปกติ หรือนำไป ใส่ภาชนะ และปิดฝาแล้วต้มฆ่าเชื้อที่ 85-100 ํซ นาน 10-30นาที พร้อมจะใช้ดื่มเป็นเครื่องดื่มน้ำ สมุนไพรที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 2. เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ 2.1 การทำสุราแช่เพกา หรือไวน์เพกานำส่วนของพืชตระกูลเพกามาล้างและใช้เครื่องจักร หรือแรงกลทำเป็นชิ้นเล็กลงเติมน้ำสะอาด โดยอาจเติมวิตามินซี และปรับปริมาณกรด หลังจากนั้นเติม น้ำผึ้งหรือน้ำตาล ตรวจสอบความหวานให้อยู่ในช่วง 18-24 ํ Brix.เติมสารอาหารเสริมและสารเคมีต่าง ๆ ตามกำหนด ผสมให้คลุกเคล้ากัน แล้วหมัก (fermentation) ด้วยยีสต์ที่คัดเลือกสำหรับเพกาโดยเฉพาะ หมักที่อุณหภูมิควบคุมที่ 20- 30 ํ ซ เป็นเวลา 1-2 เดือน โดยบรรจุในภาชนะบรรจุเพื่อบ่ม (aging) อีก ประมาณ 1- 6 เดือน หรือนานกว่า ซึ่งหากประสงค์ให้กลิ่นรสดีขึ้น อาจใส่ชิ้นไม้โอ๊ค หรือปรุงกลิ่นรสเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ไวน์สมุนไพรที่มีกลิ่นรสชวนดื่มมากขึ้น 2.2 การทำบรั่นดีสมุนไพร นำสุราเเช่เพกา ซึ่งผ่านกระบวนการเป็นสุราแช่หรีอไวน์สมุนไพร แล้วไปกลั่นให้ได้แอลกอฮอล์ช่วง 35-70% โดยปริมาตร แล้วบ่มในภาชนะที่เหมาะสม หรือถังโอ๊คนาน 6-24 เดือน หรือนานกว่า กรองแล้วบรรจุในภาชนะแล้วปิดฝา 2.3 การทำไวน์คูลเลอร์สมุนไพร นำสุราหรือไวน์สมุนไพรจากเพกามาเจือด้วยน้ำสะอาด หรือน้ำแร่ที่ไม่ทำให้รสชาดของสุราแช่ หรือไวน์สมุนไพรลดคุณภาพลง จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ช่วง 4-8% โดยปริมาตรแล้วปรุงกลิ่นรสแล้วทำการกรองก่อนลดอุณหภูมิให้ต่ำประมาณช่วง 0-5 ํ ซ แล้วอัดด้วยเเก๊ส CO2 แล้วบรรจุภาชนะปิดฝาสนิท 2.4 การทำสุราแช่สมุนไพรหรือไวน์สมุนไพรอย่างแรง นำสุราแช่หรือไวน์สมุนไพรจากเพกา มาผสมด้วยสุรากลั่นหรือแอลกอฮอล์จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ร้อยละ 18-25 โดยปริมาตร แล้วปรุง กลิ่นรสตามต้องการ บรรจุในภาชนะเเล้วปิดฝา

Claims (1)

: DC60 (27/09/43) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) โดยนำพืชดังกล่าว มาทำเครื่องดื่มที่ไม่มีและมีแอลกอฮอล์ 1. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ นำส่วนของเพกา มาเติมด้วยน้ำสะอาดประมาณ 5 - 15 เท่า แล้วเติมด้วย สารช่วยย่อย 150-300 มิลลิกรัม/ลิตร แล้วให้ความร้อนหรือต้มให้เดือดประมาณ 10-20 นาที เติมน้ำตาลหรือ น้ำผึ้ง และตรวจสอบความหวานตามต้องการ (หากจะดื่มโดยใส่น้ำแข็งให้เพิ่มความหวาน) แล้วนำไปให้ ความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 85-100 องศาเซลเซียส อีก 10-30 นาที ปล่อยให้เย็นตามอุณหภูมิปกติ หรือนำไป ใส่ภาชนะ และปิดฝาแล้วต้มฆ่าเชื้อที่ 85-100 องศาเซลเซียส นาน 10-30นาที พร้อมจะใช้ดื่มเป็นเครื่องดื่มน้ำ สมุนไพรที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 2. เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ 2.1 การทำสุราแช่เพกา หรือไวน์เพกานำส่วนของพืชตระกูลเพกามาล้างและใช้เครื่องจักร หรือแรงกลทำเป็นชิ้นเล็กลงเติมน้ำสะอาด โดยอาจเติมวิตามินซี และปรับปริมาณกรด หลังจากนั้นเติม น้ำผึ้งหรือน้ำตาล ตรวจสอบความหวานให้อยู่ในช่วง 18-24 องศา Bri x.เติมสารอาหารเสริมและสารเคมีต่าง ๆ ตามกำหนด ผสมให้คลุกเคล้ากัน แล้วหมัก (fermentation) ด้วยยีสต์ที่คัดเลือกสำหรับเพกาโดยเฉพาะ หมักที่อุณหภูมิควบคุมที่ 20- 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1-2 เดือน โดยบรรจุในภาชนะบรรจุเพื่อบ่ม (aging) อีก ประมาณ 1- 6 เดือน หรือนานกว่า ซึ่งหากประสงค์ให้กลิ่นรสดีขึ้น อาจใส่ชิ้นไม้โอ๊ค หรือปรุงกลิ่นรสเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ไวน์สมุนไพรที่มีกลิ่นรสชวนดื่มมากขึ้น 2.2 การทำบรั่นดีสมุนไพร นำสุราเเช่เพกา ซึ่งผ่านกระบวนการเป็นสุราแช่หรีอไวน์สมุนไพร แล้วไปกลั่นให้ได้แอลกอฮอล์ช่วง 35-70% โดยปริมาตร แล้วบ่มในภาชนะที่เหมาะสม หรือถังโอ๊คนาน 6-24 เดือน หรือนานกว่า กรองแล้วบรรจุในภาชนะแล้วปิดฝา 2.3 การทำไวน์คูลเลอร์สมุนไพร นำสุราแช่หรือไวน์สมุนไพรจากเพกามาเจือด้วยน้ำสะอาด หรือน้ำแร่ที่ไม่ทำให้รสชาดของสุราแช่ หรือไวน์สมุนไพรลดคุณภาพลง จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ช่วง 4-8% โดยปริมาตรแล้วปรุงกลิ่นรสแล้วทำการกรองก่อนลดอุณหภูมิให้ต่ำประมาณช่วง 0-5 องศาเซลเซียส แล้วอัดด้วยเเก๊ส CO2 แล้วบรรจุภาชนะปิดฝาสนิท 2.4 การทำสุราแช่สมุนไพรหรือไวน์สมุนไพรอย่างแรง นำสุราแช่หรือไวน์สมุนไพรจากเพกา มาผสมด้วยสุรากลั่นหรือแอลกอฮอล์จนได้ระดับของแอลกอฮอล์ ร้อยละ 18-25 โดยปริมาตร แล้วปรุง กลิ่นรสตามต้องการ บรรจุในภาชนะเเล้วปิดฝา การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) โดยนำพืชดังกล่าว มาทำเครื่องดื่มที่ไม่มีและมีแอลกอฮอล์ 1. เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ นำส่วนของเพกา มาเติมด้วยนายสะอาดประมาณ 5 - 15 เท่า แล้วเดิมด้วย สารช่วยย่อย 150-300 มิลลิกรัม/ลิตร แล้วให้ความร้อนหรือต้มให้เดือดประมาณ 10-20 นาที เติมน้ำตาลหรือ น้ำผึ้ง และตรวจสอบความหวานตามต้องการ (หากจะดื่มโดยใส่น้ำแข็งให้เพิ่มความหวาน) แล้วนำไปให้ ความร้อนเพื่อฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 85-100 ํ ซ อีก 10-30 นาที ปล่อยให้เย็นตามอุณหภูมิปกติ หรือนำไป ใส่ภาชนะ และปิดฝาแล้วต้มฆ่าเชื้อที่ 85-100 ํซ นาน 10-30นาที พร้อมจะใช้ดื่มเป็นเครื่องดื่มน้ำ สมุนไพรที่ไม่มีแอลกอฮอล์ 2. เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ 2.1 การทำสุราแช่เพกา หรือไวน์เพกานำส่วนของพืชตระกูลเพกามาล้างและใช้เครื่องจักร หรือแรงกลทำเป็นชิ้นเล็กลงเติมน้ำสะอาด โดยอาจเติมวิตามินซี และปรับปริมาณกรด หลังจากนั้นเติม น้ำผึ้งหรือน้ำตาล ตรวจสอบความหวานให้อยู่ในช่วง 18-24 ํ Bri
1. ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์จากเพกา ได้แก่ น้ำเพกา ซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวมีกลิ่นสีและ อาจใส่ หรือ มีตะกอนอยู่บ้างเล็กน้อย ใช้ดื่มเป็นอาหารเสริม บรรจุในภาชนะทีปิดสนิท เก็บไว้ได้นาน ที่อุณหภูมิห้อง มีความหวานช่วง 8-15 ํ บริกซ์ ความเป็นกรดช่วงร้อยละ 0.1 - 0.4 โดยน้ำหนัก การ ทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์จากเพกา หรือ น้ำเพกา โดยมีกรรมวิธีดังนี้ 1.1 นำส่วนของฝักเพกามาล้างทำความสะอาด คัดเลือกความแก่-อ่อน ที่เหมาะสม 1.2 เติมน้ำสะอาดประมาณแท็ก :
TH1003685A 2000-09-27 การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.) TH46078A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH46078A true TH46078A (th) 2001-07-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Lea Cidermaking
CN102604767B (zh) 一种低醇低泡白葡萄酒的生产工艺
Buxaderas et al. Sparkling wines: Features and trends from tradition
Joshi et al. Wines: White, red, sparkling, fortified, and cider
JP2005204585A (ja) ポリフェノール含有アルコール飲料
Matei Technical guide for fruit wine production
CN110373288A (zh) 一种蜂蜜桂花比尔森啤酒酿造方法
EP3785545A1 (en) Product with a non-alcohol drink and method for preserving said drink
EP1990401B1 (en) Method of producing an agave-based beer-type alcoholic drink
Byarugaba-Bazirake The effect of enzymatic processing on banana juice and wine
Arora et al. Nutritional beverages
TH46078A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลเพกา (Oroxylum indicum Vent.)
Jarvis Cider, perry, fruit wines and other alcoholic fruit beverages
Joshi et al. Cider: the production technology
CN110713887A (zh) 一种杨梅利口酒及其制备方法
Baiano et al. Recent patents in wine industry
TH46063A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูล "พยับเมฆ" หรือชื่อพฤกษศาสตร์ ชื่อ Orthosiphon aristatus Miq. หรือ O.grandiflorus Bolding หรือ O. stamineus Benth.
TH46059A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลกำลังเสือโคร่ง หรือชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Carpinus viminea Wall.
TH46060A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูลกวาวเครือ หรือ ชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Butea superba Roxb. และ Pueraria mirifica Airy Shaw & Suvatabhandu
TH46058A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจาก พืชตระกูลหญ้าสามสิบสองราก หรือ ชื่อพฤกษาศาสตร์ว่า Elephantopus scaber Linn.
US20200239818A1 (en) Infused wine and process for making same
EP3978592A1 (en) Preparation for preparing sangrias or other fruit beverages
TH46064A (th) การทำผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มจากพืชตระกูล "ฮ่อสะพายควาย" หรือชื่อพฤกษศาสตร์ ชื่อ Hiptage bengalensis var candicans Sirirugsa หรือ Berchemia floribunda Wall. Ex Brogn. หรือ Sphenodesme pentandra Jack
Miroshnichenko et al. Honey wines as a modern range of the wine industry
UA138543U (uk) Спосіб виготовлення медовухи карпатської