TH9821A3 - กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน - Google Patents

กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน

Info

Publication number
TH9821A3
TH9821A3 TH1403000743U TH1403000743U TH9821A3 TH 9821 A3 TH9821 A3 TH 9821A3 TH 1403000743 U TH1403000743 U TH 1403000743U TH 1403000743 U TH1403000743 U TH 1403000743U TH 9821 A3 TH9821 A3 TH 9821A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
inthanin
collagen
flower
dry
anthocyanin
Prior art date
Application number
TH1403000743U
Other languages
English (en)
Other versions
TH9821C3 (th
Inventor
ศรีพานิชกุลชัย ศาสตราจารย์บังอร
กาญจนสุรัตน์ นางสาวพลอยขวัญ
โกลากุล นางสาวปัญจะพาณ์
Original Assignee
นางจิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์
Filing date
Publication date
Application filed by นางจิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์ filed Critical นางจิราภรณ์ เหลืองไพรินทร์
Publication of TH9821C3 publication Critical patent/TH9821C3/th
Publication of TH9821A3 publication Critical patent/TH9821A3/th

Links

Abstract

DC60 (27/06/57) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมี ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน เป็นการพัฒนากรรมวิธีการสกัดแยกสารสำคัญกลุ่มฟีโนลิค ฟลายโว นอยด์ และแอนโทไซยานินปริมาณสูงออกจากกลีบดอกอินทนิล โดยวิธีการหมักในตัวทำละลายอินทรีย์ ผสมน้ำ และใช้วิธีทำให้สารสกัดแห้งที่อุณหภูมิต่ำร่วมกับการระเหยแห้งที่มีความเย็นสูงในภาวะ สุญญากาศ สารสกัดที่ได้มีลักษณะเป็นผงแห้งสีม่วงน้ำตาลละลายได้ดีทั้งในน้ำและในแอลกอฮอล์ และได้ ค้นพบฤทธิ์ที่ไม่เคยมีรายงานมาก่อน คือ ฤทธิ์ยับยังการทำงานของเอนไซม์เมทริกซ์เมทัลโลโปรติเนสที่ สลายคอลลาเจน สารสกัดที่ได้จึงเหมาะที่จะนำไปเป็นตัวยาสำคัญในผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหรือกรณีที่มีความ ผิดปกติในการสลายคอลลาเจน ทั้งนี้เป็นการประดิษฐ์ที่นอกจากสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากสมุนไพร ไทยแล้ว ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าดอกไม้ไทยที่นอกจากเป็นไม้ประดับแล้วยังมีประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นตัว ยาสำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวได้ดีต่อไป กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมี ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจนเป็นการพัฒนากรรมวิธีการสกัดแยกสารสำคัญกลุ่มฟีโนลิค ปลายโว นอยด์ และแอนโทไซยานินปริมาณสูงออกจากกลีบดอกอินทนิล โดยวิธีการหมักในตัวทำละลายอินทรีย์ ผสมน้ำ และใช้วิธีทำให้สารสกัดแป้งที่อุณหภูมิต่ำร่วมกับการระเหยแห้งที่มีความเย็นสูง ในภาวะ สุญญากาศ สารสกัดที่ไดมีลักษณะเป็นผงแห้งสีม่วงน้ำตาลละลายได้ดีทั้งในน้ำและ แอลกอฮอล์ และได้ ค้นพบฤทธิ์ที่ไม่เคยมีรายงานมาก่อน คือ ฤทธิ์ยับยังการทำงานของเอนไซม์เมทริกซ์เมทัลโลโปรติเนสที่ สลายคอลลาเจน สารสกัดที่ได้จึงเหมาะที่จะนำไปเป็นตัวยาสำคัญในผลิตภัณฑ์ดูแลผิวหรือกรณีที่มีความ ผิดปกติกในการสลายคอลลาเจน ทั้งนี้เป็นการประดิษฐ์ที่นอกจากสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากสมุนไพร ไทยแล้ว ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าดอกไม้ไทยที่นอกจากเป็นไม้ประดับแล้วยังมีประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นตัว ยาสำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดูแลผิวได้ดีต่อไป

Claims (1)

1. กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมี ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำเฉพาะส่วนกลีบดอกที่มีสีม่วงแดงของดอกอินทนิลมาอบแห้งที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 วัน และบดให้ละเอียดด้วยเครื่องบดแห้งจนมีอนุภาคขนาด 200-250 ไมครอน ข. นำผงกลีบดอกอินทนิลแห้งจากข้อ ก. มาแช่ในส่วนผสมที่ประกอบด้วยน้ำกลั่นและแอลกอฮอล์ (1:1) โดยแช่ในอัตราส่วน 1:18 เขย่าให้เข้ากันที่อุณหภูมิ 20-25 องศาเซลเซียส และในภาชนะบรรจุที่ ทึบแสงจนผงดอกอินทนิลพองตัวเต็มที่ จากนั้นหมักต่อโดยมีการกวนเป็นระยะ ๆ ด้วยเครื่องกวนแท่ง แม่เหล็กครั้งละ 20 นาที วันละ 15-20 ครั้ง เป็นเวลา 5 วัน ค. นำส่วนที่หมักได้จากข้อ ข. มากรองผ่านกระดาษกรองเบอร์ 1 ง. นำส่วนสารสกัดที่กรองผ่านกระดาษกรองจากข้อ ค. ไประเหยเอาแอลกอฮอล์ออกโดยใช้เครื่อง ระเหยแห้งแบบหมุนที่อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6-10 ชั่วโมง จนสารสกัดเริ่มข้นหนืดเหลือ 1 ในส่วนของสารละลายทั้งหมด จ. นำส่วนที่ได้จากข้อ ง. มาทำให้แห้งด้วยเครื่องทำแห้งด้วยความเย็นที่อุณหภูมิ -50 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 1-2 วัน จนได้สารสกัดเป็นผงแห้งสนิทสีม่วง ซึ่งให้ % yield เท่ากับ 22 ซึ่งสารสกัดที่ ได้นี้มีคุณสมบัติละลายได้ดีทั้งในน้ำและแอลกอฮอล์
TH1403000743U 2014-06-27 กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน TH9821A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH9821C3 TH9821C3 (th) 2015-04-16
TH9821A3 true TH9821A3 (th) 2015-04-16

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN105001184B (zh) 一种提取岩藻黄素用褐藻样品的前处理方法
Wu et al. Isoquinoline alkaloids from the twigs of Cassia fistula and their anti-tobacco mosaic virus activity
TH9821A3 (th) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน
TH9821C3 (th) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดดอกอินทนิลที่มีสารฟีโนลิค ฟลาโวนอยด์ แอนโทไซยานินสูง และมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สลายคอลลาเจน
CN105166087A (zh) 一种强化型冷榨芝麻美容油及其制备方法
KR20180043137A (ko) 포포나무 잎으로부터 루틴(rutin) 함유 추출물을 제조하는 방법
KR102163509B1 (ko) 적송 솔방울 추출물을 유효성분으로 함유하는 화장료 조성물
CN104342289A (zh) 一种桂花香精油提取方法
MY172154A (en) Composition for cognition and cosmetic purposes and use of said composition for preparing an agent
Dwivedi et al. Extraction methods for plant materials containing antimicrobial properties and microencapsulation: An overview
CN104497622B (zh) 一种茶树果红棕色素提取方法
Sikarwar et al. NATURAL PAPER COLORANT BY Butea monosperma FLOWER PETALS
Patil et al. Spathodea campanulata Beauv. flower dye extraction: Mass transfer enhancement through process optimization
CN104003999A (zh) 一种制备cinnamtannin B1的方法
KR20150106581A (ko) 천연물 추출물로부터 엽록소를 제거하는 방법
Guleishvili et al. Antioxidant Activity of the Flesh of Red and Black Hawthorn Wild Growing in Georgia
TH10685A3 (th) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดยางนา
TH176303A (th) กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากดอกไม้ และผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
CN104004034A (zh) 一种制备开环异落叶松脂素9’-O-β-木糖苷的方法
TH10685C3 (th) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดยางนา
TH173688A (th) กระบวนการเตรียมสารสกัดกล้วยไม้หวายพันธุ์ขาวสนานที่มีองค์ประกอบของ พอลิแซ็กคาไรด์ ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มความชุ่มชื้นผิว
TH176303B (th) กรรมวิธีการสกัดสารสำคัญจากดอกไม้ และผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
MX2016015473A (es) Proceso de elaboracion de la formulacion de flavonoides antioxidantes como la planta manita.
TH12018C3 (th) กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดรูปแบบผงจากเปลือกเสม็ดขาว
UA117559U (uk) Спосіб одержання поліфенольного комплексу з трави жоржини сорту ken's flame з антимікробною дією