TH23652B - กรรมวิธีเคลือบผิวแบบผง - Google Patents

กรรมวิธีเคลือบผิวแบบผง

Info

Publication number
TH23652B
TH23652B TH9801004859A TH9801004859A TH23652B TH 23652 B TH23652 B TH 23652B TH 9801004859 A TH9801004859 A TH 9801004859A TH 9801004859 A TH9801004859 A TH 9801004859A TH 23652 B TH23652 B TH 23652B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
substrate
coating
clause
fluidized bed
microns
Prior art date
Application number
TH9801004859A
Other languages
English (en)
Other versions
TH35258A (th
Inventor
เจฟฟรีย์ คิทเทิล นายเควิน
ริง นายจอห์น
อาร์เป นายจิอันฟรังโก
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายบุญมา เตชะวณิช
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นายบุญมา เตชะวณิช นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายบุญมา เตชะวณิช, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH35258A publication Critical patent/TH35258A/th
Publication of TH23652B publication Critical patent/TH23652B/th

Links

Abstract

DC60 (22/10/50) กรรมวิธีสำหรับประกอบผิว เคลือบบนซับสเตรทนำไฟฟ้า ซึ่งประกอบรวมด้วยการสร้าง ฟลูอิไดเซด เบดของผงสารผสมผิวเคลือบ การจุ่มซับสเตรทนี้ทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งให้อยู่ภายใน ฟลูอิไดเซด เบดที่กล่าวแล้ว การให้ความต่างศักย์แก่ซับสเตรทนี้เป็นเวลาอย่างน้อยส่วนหนึ่งของระยะ เวลาของการจุ่ม อาศัยกรรมวิธีนี้อนุภาคของผงสารผสมผิวเคลือบยึดติดกับซับสเตรทนี้ การดึงเอา ซับสเตรทนี้ออกจากฟลูอิไดเซด เบด และการก่อรูปอนุภาคที่ยึดติดนี้ให้เป็นผิวเคลือบต่อเนื่องบน ซับสเตรทนี้ อย่างน้อยส่วนหนึ่ง กรรมวิธีนี้สามารถเคลือบผิวซับสเตรทพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถเข้าไปได้อย่างง่าย ในกรรมวิธีเคลือบผิวแบบใช้ไฟฟ้าสถิตสามัญทั่วไป เนื่องจากปรากฏการณ์ฟาราเดย์ เคจ (Faraday cage) และกรรมวิธีนี้สามารถทำให้เกิดผิวเคลือบบางกว่าผิวเคลือบที่ได้มาโดยกรรมวิธี แบบฟลูอิไดเซด เบด สามัญทั่วไปด้วยเหมือนกัน กรรมวิธีสำหรับประกอบผิว เคลือบบนซับสเครทนำไฟฟ้า ซึ่งประกอบรวมด้วยการสร้าง ฟลูอิไดเซด เบคของผงสารสผมเคลือบผิว การจุ่มซันสเครทนี้ทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งให้อยู่ภายใน ฟลูอิไดเซด เบดที่กล่าวแล้ว การให้ความต่างศักย์แก่ซับสเตรทนี้เป็นเวลาอย่างน้อยส่วนหนึ่งของระยะ เวลาของการจุ่ม อาศัยกรรมวิธีนี้อนุภาคของผงสารผสมผิวเคลือบยึดติดกับซับสเตรทนี้ การดึงเอา ซับเตรทนี้ออกจากฟลูอิไดเซด เบด และการก่อรูปอนุภาคที่ยึดติดนี้ให้เป็นผิวเคลือบต่อเนื่องบน ซับสเตรทนี้ อย่างน้อยส่วนหนึ่ง กรรมวิธีนี้สามารถเคลือบผิวซับสเตรทพื้นที่ต่าง ๆ ซึ่งไม่สามารถเข้าไปได้อย่างง่าย ในกรรมวิธีเคลือบผิวแบบใช้ไฟฟ้าสถิตย์สามัญทั่วไป เนื่องจากปรากฏการณ์ฟาราเดย์ เดจ (Faraday cage) และกรรมวิธีนี้สามารถทำให้เกิดผิวเคลือบบางกว่าผิวเคลือบที่ได้มาโดยกรรมวิธี แบบฟลูอิไดเซด เบด สามัญทั่วไปด้วยเหมือนกัน

Claims (1)

1. กรรมวิธีสำหรับประกอบผิวเคลือบบนซับสเตรทนำไฟฟ้า (6), ซึ่งประกอบรวมด้วยการ สร้างฟลูอิไดเซค เบดของผงสารผสมผิวเคลือบ โดยที่ให้ประจุไฟฟ้าสถิตจากการเสียดทานของ สารผสมผิวเคลือบที่เป็นผง การจุ่มซับสเตรทนี้ (6) ทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งให้อยู่ภายในฟลูอิไดเซค เบด ที่กล่าวแล้ว, การให้ความต่างศักย์แกซับสเตรทนี้อย่างน้อยเวลาส่วนหนึ่งของระยะเวลาของการจุ่มนี้, อาศัยกรรมวิธีนี้, อนุภาคของผงสารผสมผิวเคลือบยึดติดกับซับสเตรทนี้ (6), การดึงเอาซับสเตรทนี้ (6) ออกจากฟลูอิไดเซค เบด และก่อรูปอนุภาคที่ยึดติดนี้เป็นผิวเคลือบต่อเนื่องบนซับสเตรทนี้ (6) อย่าง น้อยส่วนหนึ่ง 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งซับสเตรทนี้ (6) ประกอบรวมด้วยโลหะ 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งความต่างศักย์ที่ให้นี้ เป็นความต่างศักย์กระแสตรง 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง สำหรับเคลือบผิว ซับสเตรทตามลำดับ (17,18,19) ในลำดับอนุกรม ซึ่งใช้ความต่างศักย์กระแสตรงและกลับสภาพขั้ว ของความต่างศักย์ที่ให้แก่ซับสเตรทตามลำดับ (17,18,19) จากแต่ละซับสเตรทไปยังซับสเตรทต่อไป เพื่อผลิตให้ลำดับอนุกรมสลับกัน 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งเป็นกรรมวิธีต่อเนื่องซึ่งขนส่งซับสเตรท (17,18,19) ที่มีสภาพขั้วสลับกัน อนุกรมหนึ่งที่ผ่านทางฟลูอิไดเซค เบคที่สร้างอยู่ภายในห้อง ฟลูอิไดซิง ซึ่งมีผนังที่ประกอบด้วยส่วนที่เป็นฉนวน (14a, 14b, 14c ) และส่วนที่นำไฟฟ้า (15a, 15b) สลับกันในทิศทางของการเดินทางของซับสเตรทนี้ (17, 18, 19) 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งประกอบรวมด้วยการ เคลือบผิวทีละแบทซ์พร้อมกันของซับสเตรทหนึ่งคู่หรือมากกว่านี้ ซึ่งจัดวางไว้ภายในฟลูอิไดเซค เบด ที่ใช้ร่วมกัน ซึ่งทำซับสเตรทของแต่ละคู่นี้ให้มีประจุซึ่งมีสภาพขั้วตรงข้ามตามลำดับ โดยความต่าง ศักย์กระแสตรง 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งสร้างฟลูอิไดเซด เบด นี้ไว้ภายในภาชนะที่ต่อลงดิน (1) 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งจัดวางหนึ่งเคาน์เตอร์ อิเล็กโทรด (35) หรือมากกว่านี้ ที่ควรต่อลงดิน ไว้ภายในมวลรวมทั้งหมดของผงสารผสมเคลือบผิวนี้ 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งไม่มีการเชื่อม ซับสเตรท (6) ลงดิน 1 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งจุ่มซับสเตรท (6) ทั้งหมดไว้ภายในฟลูอิไดเซค เบด 1 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งไม่มีการทำ ซับสเตรท (6) ให้ร้อนไว้ล่วงหน้าก่อนการจุ่มในฟลูอิไดเซด เบดนี้ 1 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งผงสารผสม ผิวเคลือบนี้เป็นระบบเทอร์โมเซททิง 1 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 12 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งผงสารผสม ผิวเคลือบนี้มีสารเติมแต่งช่วยเสริมสภาพการไหลเข้าไว้ด้วย โดยการผสมผสานแห้ง 1 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งผงสารผสมผิวเคลือบนี้ มีสารผสมรวม กันของอะลูมินาและอะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์รวมอยู่ด้วย เป็นสารเติมแต่งช่วยเสริมสภาพการไหลได้ 1 5. กรรมวิธีสำหรับเคลือบผิวซับสเตรทนำไฟฟ้า (6) ซึ่งประกอบรวมด้วยส่วนประกอบ เกี่ยวกับรถยนต์หรืออวกาศทั้งหมด ซึ่งทำผิวเคลือบที่หนึ่งที่ได้มาจากผงสารผสมผิวเคลือบให้สัมผัส โดยวิธีที่ใช้กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง และหลังจากนี้ทำผิวเคลือบด้านบนสุด ให้สัมผัสบนผงผิวเคลือบนี้ 1 6. เครื่องสำเร็จสำหรับใช้ประโยชน์ในกรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง เพื่อก่อรูปผิวเคลือบบนซับสเตรทนำไฟฟ้า ซึ่งประกอบรวมด้วย (a) ห้องฟลูอิไดซิง (b) วิถีทางสำหรับปฏิบัติการฟลูอิไดซ์ของผงสารผสมผิวเคลือบทั้งหมดให้ได้ผลภายใน ห้องฟลูอิไดซิง เพื่อสร้างฟลูอไดเซด เบดของสารผสมที่มีอยู่ในนี้ โดยที่ให้ประจุไฟฟ้าสถิตจากการ เสียดทานของสารผสมผิวเคลือบที่เป็นผง (c) วิถีทางสำหรับจุ่มซับสเตรททั้งหมดหรือส่วนหนึ่งให้อยู่ภายในฟลูอิไดเซด เบดนี้ (d) วิถีทางสำหรับให้ความต่างศักย์แก่ซับสเตรทเป็นเวลาอย่างน้อยส่วนหนึ่งของระยะเวลา การจุ่ม อาศัยวิถีทางนี้ ซับสเตรทมีประจุไฟฟ้าเพื่อให้เพื่ออนุภาคของผงสารผสมผิวเคลือบนี้ยึดติด กับซับสเตรทนี้ (e) วิถีทางสำหรับดึงเอาซับสเตรทที่มีอนุภาคต่าง ๆ อยู่ด้วยนี้ออกมาจากฟลูอิไดเซด เบด และ (f) วิถีทางสำหรับเปลี่ยนอนุภาพที่ยึดติดนี้ ให้เป็นผิวเคลือบต่อเนื่อง 1 7. ซับสเตรท (6) เมื่อใดก็ตามที่เคลือบผิวไว้โดยกรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง หรือโดยวิธีที่ใช้เครื่องสำเร็จตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 16 1 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งให้ความต่างศักย์แก่ ซับสเตรท (6) ในลักษณะที่ว่าเกรเดียนท์ความต่างศักย์สูงสุดที่ดำรงอยู่ในฟลูอิไดเซด เบดนี้ อยู่ต่ำกว่า เกรเดียนท์ความต่างศักย์ของการไอออไนซ์อย่างมีนัยสำคัญสำหรับแก๊สในฟลูอิไดเซด เบดนี้ 1 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 หรือข้อ 18 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี เกรเดียนท์ความต่างศักย์สูงสุดที่ดำรงอยู่ในฟลูอิไดเซด เบดนี้ อยู่ระหว่าง 0.05 kV/ซม. และ 10 kV/ซม. ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 19 ซึ่งเกรเดียนท์ความต่างศักย์สูงสุดที่ดำรง อยู่ในฟลูอิไดเซดด เบดนี้ อยู่ระหว่าง 0.05 kV/ซม. และ 5 kV/ซม. ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 20 ซึ่งเกรเดียนท์ความต่างศักย์สูงสุดที่ดำรง อยู่ในฟลูอิไดเซด เบดนี้ อยู่ระหว่าง 0.05 kV/ซม. และ 1 kV/ซม. ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 หรือข้อ 18 ถึง 21 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ความต่างศักย์ที่ให้แก่ซับสเตรทนี้ (6) อยู่ระหว่าง 5 kV และ 60 kV ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งมีความต่างศักย์ที่ให้แก่ซับสเตรทนี้ อยู่ระหว่าง 15 kV และ 35 kV ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งมีความต่างศักย์ที่ให้แก่ซับสเตรทนี้ อยู่ระหว่าง 5 kV และ 30 kV ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่งมีความต่างศักย์ที่ให้แก่ซับสเตรทนี้ อยู่ระหว่าง 30 kV และ 60 kV ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 หรือข้อ 18 ถึง 25 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่ง อนุภาคของผงสารผสมผิวเคลือบนี้มีขนาดแปรผันระหว่าง 1 และ 120 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัด ทั้งคู่ด้วย 2 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่งอนุภาคในนี้มีขนาดแปรผันระหว่าง 15 และ 75 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งอนุภาคในนี้มีขนาดแปรผันระหว่าง 25 และ 50 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 2 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งอนุภาคในนี้มีขนาดแปรผันระหว่าง 20 และ 45 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 หรือข้อ 18 ถึง 29 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่ง ซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มีความหนาระหว่าง 5 และ 200 ไมครอนซึ่งรวมทั้งเขตจำกัด ทั้งคู่ด้วย 3 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 30 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 5 และ 100 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 30 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 10 และ 150 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 20 และ 100 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 33 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 60 และ 80 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 33 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 80 และ 100 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 50 และ 150 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งซับสเตรทในนี้ (6) ได้รับผิวเคลือบที่มี ความหนาระหว่าง 15 และ 40 ไมครอน ซึ่งรวมทั้งเขตจำกัดทั้งคู่ด้วย 3 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 หรือข้อ 18 ถึง 37 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี กระแสไหลน้อยกว่า 10 mA ในซับสเตรทนี้ (6) 3 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 38 ซึ่งมีกระแสไหลน้อยกว่า 5 mA ใน ซับสเตรทนี้ (6) 4 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 39 ซึ่งมีกระแสไหลน้อยกว่า 1 mA ใน ซับสเตรทนี้ (6) 4
1. ซับสเตรท (6) เมื่อใดก็ตามที่เคลือบผิวโดยกรรมวิธีที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 18 ถึง 40 ข้อใดข้อหนึ่ง หรือโดยวิธีที่ใช้เครื่องสำเร็จตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 16
TH9801004859A 1998-12-15 กรรมวิธีเคลือบผิวแบบผง TH23652B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH35258A TH35258A (th) 1999-10-06
TH23652B true TH23652B (th) 2008-05-02

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US3342621A (en) Electrostatic precipitation process
NO20003123L (no) FremgangsmÕte for pulverpÕlegging
JPH1190309A (ja) 静電塗装処理方法
JPH10507128A (ja) 誘導的に電荷を与えた樹脂粉末粒子により基体を被覆する装置
MXPA97002463A (en) Apparatus for covering substrates with inductivame loaded powder resin particles
EP1392451B1 (en) Powder coating process with electrostatically charged fluidised bed
JP4705292B2 (ja) 物品を被膜で被覆する方法と、この方法を実施する装置
MXPA05006223A (es) Aparato y procedimiento de revestimiento en polvo.
TH35258A (th) กรรมวิธีเคลือบผิวแบบผง
TH23652B (th) กรรมวิธีเคลือบผิวแบบผง
FI112685B (fi) Menetelmä jauhemaisten partikkelien käsittelemiseksi
Dalzell et al. Thermophoretic and Electrophoretic Deposition of Sol‐Gel Composite Coatings
US20050069652A1 (en) Method for coating an object with a film and equipment therefor
GB2027363A (en) Process for the Electrostatic Coating of Workpieces
JPS622863B2 (th)
SU927342A1 (ru) Способ получени полимерных покрытий
Baratto Electrostatic fluid bed application a process to apply integral insulation
SAKATA et al. Aerosol Deposition on Wafer Surface: Theoretical Analysis
MY120463A (en) Powder coating process
JPS58123611A (ja) 絶縁電線の製造方法
ITMO970016A1 (it) Procedimento per la verniciatura di corpi a bassa conducibilita' elett rica.