TH2003002653C3 - กรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง - Google Patents

กรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง

Info

Publication number
TH2003002653C3
TH2003002653C3 TH2003002653U TH2003002653U TH2003002653C3 TH 2003002653 C3 TH2003002653 C3 TH 2003002653C3 TH 2003002653 U TH2003002653 U TH 2003002653U TH 2003002653 U TH2003002653 U TH 2003002653U TH 2003002653 C3 TH2003002653 C3 TH 2003002653C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
stimulate
growth
cell cultures
bamboo pulp
mushrooms
Prior art date
Application number
TH2003002653U
Other languages
English (en)
Inventor
ดร บุญดิศย์ วงศ์ศักดิ์ดรอาภา เพชรสัมฤทธิ์ ผศ
Original Assignee
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยบูรพา (หน่วยงานภาครัฐ)
Filing date
Publication date
Application filed by สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยบูรพา (หน่วยงานภาครัฐ) filed Critical สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)มหาวิทยาลัยบูรพา (หน่วยงานภาครัฐ)
Publication of TH2003002653C3 publication Critical patent/TH2003002653C3/th

Links

Abstract

กรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ประกอบด้วยขั้นตอน การเตรียมตัวอย่าง และการสกัดสารจากเห็ดเยื่อไผ่ จะได้สารสกัดจากเห็ดเยื่อไผ่ที่เป็น เกล็ดเส้นใยสีขาว ซึ่งมีกรดไฮยาลูรอนิกเป็นส่วนประกอบ มีคุณสมบัติกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยง ผิวหนังมนุษย์ได้ดี โดยใช้ตัวทำละลายที่มีพิษตํ่า ทำให้มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์ เป็นแหล่งของสารทีม ฤทธิ์ช่วยต้านอนุมูลอิสระ กระตุ้นภูมิคุ้มกัน และฤทธิ์ต้านการอักเสบ ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์ เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาไปใช้โนอุตสาหกรรมเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เสริม อาหารได้

Claims (5)

1. กรรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ประกอบด้วย ขั้นตอน ดังนี้ ก. การเตรียมตัวอย่าง นำเห็ดเยื่อไผในระยะไข่เห็ดที่สมบูรณ์ไม่มีรอยโรคหรือฉีกขาด มาล้างนํ้าสะอาด เพื่อกำจัดสิ่งสกปรก ซับน้ำให้แห้งแล้วนำไปแช่แข็งด้วยตู้อุณหภูมิ ที่อุณหภูมิ -4 ถึง -40 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง จากนั้นนำไปลอกเยื่อหุ้มออก และเก็บเฉพาะส่วนวุ้นเจลไว้ โดยเก็บไว้ที่อุณหภูมิ -10 ถึง -40 องศาเซลเซียส ข. การสกัดสารจากเห็ดเยื่อไผ่ นำวุ้นเจล จากข้อ ก. หั่นเป็นขึ้นเล็กๆ นำไปชั่งและเติมตัวทำละลาย คนให้เข้ากัน และนำไปสกัด ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง 30-60 กิโลเฮิรตซ์ เป็นเวลา 10-20 นาที นำไปปั่นเหวี่ยงด้วยเครื่องเหวี่ยงแยกสาร ที่ความแรง 10,000-20,000 จี เป็นเวลา 10-20 นาที ดูดเฉพาะส่วนใสด้านบนเก็บไว้ และนำส่วนที่เป็นกาก ไปทำการสกัดด้วยวิธีเติมอีกครั้ง นำส่วนใสที่เป็นของเหลวมาระเหยเอาตัวทำละลายออกด้วยการอบแห้งแบบ แช่เยือกแข็ง
2. กรรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ตามข้อถือ สิทธิ 1 ที่ซึ่ง ตัวทำละลาย เลือกได้จาก นํ้ากลั่น ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ หรือ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาลีน ที่ดีที่สุดคือ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ซาลีน
3. กรรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ตามข้อถือ สิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง อัตราส่วนในการสกัดระหว่างวุ้นเจลเห็ด 10 กรัม ต่อตัวทำละลาย ปริมาตร 10 มิลลิลิตร
4. กรรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ตามข้อถือ สิทธิ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง วิเคราะห์ปริมาณกรดไฮยาลูโรนิค (Hyaluronic acid) โดยเทคนิคอีไลสา (ELISA) พบว่า ไม่ตํ่ากว่า 120 ไมโครกรัมต่อกรัมสารสกัด 100 กรัม และสามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์ เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสติให้เพิ่มขึ้นได้
5. กรรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง ตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง นำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร มีลักษณะพิเศษคือ สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสติได้สูงกว่าการสกัดแบบทั่วไป
TH2003002653U 2020-10-08 กรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง TH2003002653C3 (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH2003002653C3 true TH2003002653C3 (th) 2023-02-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
García-Vaquero et al. Polysaccharides from macroalgae: Recent advances, innovative technologies and challenges in extraction and purification
Wang et al. Three-phase partitioning for the direct extraction and separation of bioactive exopolysaccharides from the cultured broth of Phellinus baumii
JP5154964B2 (ja) ローヤルゼリー分解酵素含有物
US11279962B2 (en) Chitin and chitosan producing methods
CN111202749A (zh) 一种具有肌肉细胞修复功能的干细胞活性因子组合物的制备方法
Grzywacz et al. Anti-inflammatory activity of biomass extracts of the bay mushroom, Imleria badia (Agaricomycetes), in RAW 264.7 cells
CN108753712B (zh) 一种脂肪干细胞提取方法
Antontceva et al. Influence of Pleurotus ostreatus preparations on fermentation products of lactic acid cultures.
TH2003002653C3 (th) กรรมวิธีการสกัดเห็ดเยื่อไผ่ที่สามารถกระตุ้นการเจริญของเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ได้สูง
KR20100138664A (ko) 2단계 방식에 의한 기능성 강화 가공발효녹용 및 그 제조방법
JP2014009164A (ja) プロテオグリカンの製造方法
CN106188329B (zh) 一种扇贝多糖的提取方法和制品
Zhao et al. In vitro antioxidant and antitumor activities of polysaccharides extracted from the mycelia of liquid-cultured Flammulina velutipes
CN111165750A (zh) 一种利用发酵技术制备海参花粉剂的方法
CN104450609B (zh) 一种分离和培养脐带间充质干细胞的方法
CN105255982A (zh) 一种利用米曲霉发酵罗非鱼鱼皮制备抗氧化活性肽的方法
TWI602569B (zh) 微藻多醣萃取物及其萃取方法
NL2026246B1 (en) Bone collagen peptide, and preparation method and use thereof
WO2023082523A1 (zh) 一种提高罗非鱼头骨制备硫酸软骨素提取率的方法
Ma et al. Characterization of β-secretase inhibitory extracts from sea cucumber (Stichopus japonicus) hydrolysis with their cellular level mechanism in SH-SY5Y cells
CN116547382A (zh) 从动物细胞系和/或组织外植体生产、分离和/或提取胶原蛋白和/或明胶
CN112076217A (zh) 一种间充质干细胞来源的抗炎症氧化脂质组合物的制备方法
RO134119A0 (ro) Procedeu de obţinere a gelatinei cu proprietăţi bioactive din gasteropode marine
RU2393228C2 (ru) Способ получения пищевых волокон
Jasem et al. Characteristics and Antioxidant Potential of Sulfated Polysaccharides from Cladophora crispata