TH15352A3 - กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา - Google Patents

กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา

Info

Publication number
TH15352A3
TH15352A3 TH1703002359U TH1703002359U TH15352A3 TH 15352 A3 TH15352 A3 TH 15352A3 TH 1703002359 U TH1703002359 U TH 1703002359U TH 1703002359 U TH1703002359 U TH 1703002359U TH 15352 A3 TH15352 A3 TH 15352A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
coating
clear
chemical vapor
microwave plasma
hydrophobic
Prior art date
Application number
TH1703002359U
Other languages
English (en)
Other versions
TH15352B (th
TH15352C3 (th
Inventor
แดงงาม นายฉลองรัฐ
ทองรมย์ นายสุกฤษฏิ์
Original Assignee
นายจิตติยุทธ เยี่ยมยกกุล
นางสาวเพชรดา สัตยากูล
Filing date
Publication date
Application filed by นายจิตติยุทธ เยี่ยมยกกุล, นางสาวเพชรดา สัตยากูล filed Critical นายจิตติยุทธ เยี่ยมยกกุล
Publication of TH15352B publication Critical patent/TH15352B/th
Publication of TH15352A3 publication Critical patent/TH15352A3/th
Publication of TH15352C3 publication Critical patent/TH15352C3/th

Links

Abstract

------27/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้เสนอกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใส ด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ประกอบด้วยขั้นตอน การทำความสะอาดพื้นผิววัสดุ จากนั้นทำความสะอาดพื้นผิวระดับโมเลกุลและเคลือบผิวด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟ พลาสมา ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้เสนอกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใส ด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ประกอบด้วยขั้นตอน การทำความสะอาดพื้นผิววัสดุ จากนั้นทำความสะอาดพื้นผิวระดับโมเลกุลและเคลือบผิวด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟ พลาสมา

Claims (8)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 11/07/2562 ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมี โดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำวัสดุที่ต้องการจะเคลือบชั้นผิวมากำจัดฝุ่นหรือสิ่งสกปรกออกจากผิววัสดุ และเช็ดทำความสะอาด พื้นผิวด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ ในขั้นตอนนี้ด้วัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว ข. นำวัสดุที่ผ่นการทำความสะอาดพื้นผิวแล้วที่ได้จากขั้นตอน ก มาทำความสะอาดพื้นผิวโตยใช้ พลาสมา (plasma cleaning) ใช้แก๊สออกซิเจน (oxygen) ผสมกับแก๊สเฉื่อย ทำโดยสภาวะสุญญากาศ ความดันต่ำในช่วง 0.1-0.2 มิลลิบาร์ แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนผสมกับแก็สเฉื่อย ให้ไหลมายังสภาวะ สุญญากาศ จนมีความด้อยู่ในช่ง 02-05 มิลลิบาร์ จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 10- 20วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้พื้นผิวผ่านการปรับสภาพผิวและพร้อมที่จะเกิดหมู่ฟังก์ชันกับโมเลกุลอื่น ค. จากนั้นระเหยสารตั้งตันที่เลือกได้จาก น้ำมันซิลิโคนหรือไซลอกเซน เข้าไปในสภาวะสุญญากาศที่มี ความดัน 0.1-0.2 มิลลิบาร์ ซึ่งภายในสภาวะสุญญากาศมีแผ่นวัสดุที่ปรับสภาพพื้นผิวเรียบร้อยแล้วที่ ได้จากขั้นตอน ข จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 5-10 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้แผ่นเคลือบ ผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำอย่างยิ่งยวดที่มีความใส ---------- แก้ไข 08/10/2561 หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า
1. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมี โดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำวัสดุที่ต้องการจะเคลือบชั้นผิวมากำจัดฝุ่นหรือสิ่งสกปรกออกจากผิววัสดุ และเช็ดทำความสะอาด พื้นผิวด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ ในขั้นตอนนี้ได้วัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว ข. นำวัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้วที่ได้จากขั้นตอน ก มาทำความสะอาดพื้นผิวโดยใช้ พลาสมา (plasma cleaning) ใช้แก๊สออกซิเจน (oxygen) ผสมกับแก๊สเฉื่อย ทำโดยสภาวะ สุญญากาศความดันตํ่าในช่วง 0.1-0.2 มิลลิบาร์ แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนผสมกับแก๊สเฉื่อย ให้ไหลมายัง สภาวะสุญญากาศ จนมีความดันอยู่ในช่วง 0.2-0.5 มิลลิบาร์ จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 10-20 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้พื้นผิวผ่านการปรับสภาพผิวและพร้อมที่จะเกิดหมู่ฟังก์ชันกับโมเลกุลอื่น ค. จากนั้นระเหยสารตั้งต้นที่เลือกได้จาก นํ้ามันซิลิโคนหรือไซลอกเซน เข้าไปในสภาวะสุญญากาศที่มี ความดัน 0.1-0.2 มิลลิบาร์ ซึ่งภายในสภาวะสุญญากาศมีแผ่นวัสดุที่ปรับสภาพพื้นผิวเรียบร้อยแล้วที่ ได้จากขั้นตอน ข จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 5-10 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้แผ่นเคลือบ ผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำอย่างยิ่งยวดที่มีความใส
2. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง อัตราส่วนระหว่าง แก๊สออกซิเจนต่อกับ แก๊สเฉื่อย เท่ากับ 7:3
3. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง แก๊สเฉื่อย เลือกได้จาก ไนโตรเจน (nitrogen) หรือ อาร์กอน (argon)
4. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง นํ้ามันซิลิโคน หรือ ไซลอกเซน ซึ่งเป็นพลิ เมอร์แบบออร์แกโนไซลอกเซน ที่มีโครงหลักพอลิเมอร์ (polymer backbone) เป็นสาร อนินทรีย์ ประกอบด้วยสายโซ่ของ Si-O-Si แต่มีหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ (side group) เป็นสารอินทรีย์ที่มีสมบัติ ไม่ชอบนํ้า โดยเลือกจากหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ที่มาเกาะกับสารโซ่หลัก ในที่นี้ได้จำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มตามหมู่ฟังก์ชัน คือ (1) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ พอลิไดเมทิลไซลอกเซน (polydimethyl siloxane), พอลิ(ไดเมทิลไซลอกเซน), บิส(ไฮดรอกซิลแอลคิล)เทอร์มิเนท (Poly(dimethylsiloxane), bis(hydroxyalkyl) terminated), ไวนิลเทอร์มิเนท พอลิไดเมทิลไซลอก หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า เซน (vinyl terminated polydimethyl siloxane), พอลิฟินิลเมทิลไดเมทิลไซลอกเซน (polyphenylmethyldimethylsiloxane), ไฮไดรด์เทอร์มิเนท พอลิ(เมทิล-ฟินิล)ไซลอกเซน (hydride terminated poly(methyl-phenyl) siloxane) หรือ (2) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอนที่มีหมู่ฟังก์ชัน แอลคอกซี ได้แก่ ไตรเมทอกซี เทอร์มิเนท พอลิไดเมทิลไซลอกเซน (trimethoxy terminated polydimethylsiloxane), ไตรเอทอกซี ทอร์มิเนท พอลิไดเมทิลไซลอกเซน (triethoxy terminated polydimethylsiloxane) หรือ (3) สารจำพวกฟลูออโรไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ ไตรเมทิล เทอร์มิเนท พอลิ(เมทิลไตรฟลูออโรโพรพิล) ไซลอกเซน (trimethyl terminated poly(methyltrifluoropropyl) siloxane), ไฮดรอกซิล เทอร์มิเนท พอลิ(เมทิล-ไตรฟลูออโรโพลพิล)ไซลอกเซน (hydroxy terminated poly(methyl-trifluoropropyl) siloxane)
5. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง กำเนิดคลื่นไมโครเวฟที่ความถี่ 0.915-2.45 กิกะเฮิรตซ์ กำลัง 800-1100 วัตต์
6. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทดนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่ง ตัวทำละลายอินทรีย์ เลือกได้จาก แอลกอฮอล์ หรือ อะซีโตน ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ------27/11/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมี โดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำวัสดุที่ต้องการจะเคลือบขั้นผิวมากำจัดฝุ่นหรือสิ่งสกปรกออกจากผิววัสดุ และเช็ดทำความสะอาด พื้นผิวด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ ในขั้นตอนนี้ได้วัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว ข. นำวัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้วที่ได้จากขั้นตอน ก มาทำความสะอาดพื้นผิวโดยใช้ พลาสมา (plasma cleaning) ใช้แก๊สออกซิเจน (oxygen) ผสมกับแก๊สเฉื่อย ทำโดยสภาวะสุญญากาศ ความดันตํ่าในช่วง 0.1-0.2 มิลลิบาร์ แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนผสมกับแก๊สเฉื่อย ให้ไหลมายังสภาวะ สุญญากาศ จนมีความดันอยู่ในช่วง 0.2-0.5 มิลลิบาร์ จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 10- 20 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้พื้นผิวผ่านการปรับสภาพผิวและพร้อมที่จะเกิดหมู่ฟังก์ชันกับโมเลกุลอื่น ค. จากนั้นระเหยสารตั้งต้นเข้าไปในสภาวะสุญญากาศที่มีความดัน 0.1-0.2 มิลลิบาร์ ซึ่งภายในสภาวะ สุญญากาศมีแผ่นวัสดุที่ปรับสภาพพื้นผิวเรียบร้อยแล้วที่ได้จากขั้นตอน ข จากนั้นให้กำเนิดคลื่น ไมโครเวฟ เป็นเวลา 5-10 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้แผ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำอย่างยิ่งยวดที่มี ความใส
2. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง อัตราส่วนระหว่าง แก๊สออกซิเจนต่อกับ แก๊สเฉื่อย เท่ากับ 7:3
3. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง แก๊สเฉื่อย เลือกได้จาก ไนโตรเจน (nitrogen) หรือ อาร์กอน (argon)
4. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง สารตั้งต้น เลือกได้จาก นํ้ามันซิลิโคนหรือ ไซลอกเซน
5. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 3 ที่ซึ่ง นํ้ามันซิลิโคน หรือ ไซลอกเซน ซึ่งเป็นพลิ เมอร์แบบออร์แกโนไซลอกเซน ที่มีโครงหลักพอสิเมอร์ (polymer backbone) เป็นสาร อนินทรีย์ ประกอบด้วยสายโซ่ของ Si-O-Si แต่มีหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ (side group) เป็นสารอินทรีย์ที่มีสมบัติ ไม่ชอบนํ้า โดยเลือกจากหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ที่มาเกาะกับสารโซ่หลัก ในที่นี้ได้จำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มตามหมู่ฟังก์ชัน คือ (1) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอน หรือ (2) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอนที่มีหมู่ ฟังก์ชัน แอลคอกซี หรือ (3) สารจำพวกฟลูออโรไฮโดรคาร์บอน
6. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง กำเนิดคลื่นไมโครเวฟที่ความถี่ 0.915-2.45 กิกะเฮิรตซ์ กำลัง 800-1100 วัตต์ หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า
7. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทดนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่ง ตัวทำละลายอินทรีย์ เลือกได้จาก แอลกอฮอล์ หรือ อะซีโตน
8. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มุม สัมผัสของหยดนํ้าสูงกว่า 165 องศา 9.ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มีมุม กลิ้งตํ่ากว่า 5 องศา 1
0. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 - 4 ข้อใดข้อหนึ่ง มีค่าการ ส่องผ่านของแสงสูงกว่า 95% ตลอดช่วงสเปคตรัมที่ตามองเห็นคือช่วงความยาวคลื่นประมาณ 400- 750 นาโนเมตร ------------ หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบไอเคมี โดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา มีขั้นตอนดังนี้ ก. นำวัสดุที่ต้องการจะเคลือบขั้นผิวมากำจัดฝุ่นหรือสิ่งสกปรกออกจากผิววัสดุ และเช็ดทำความสะอาด พื้นผิวด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ ในขั้นตอนนี้ได้วัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้ว ข. นำวัสดุที่ผ่านการทำความสะอาดพื้นผิวแล้วที่ได้จากขั้นตอน ก มาทำความสะอาดพื้นผิวโดยใช้ พลาสมา (plasma cleaning) ใช้แก๊สออกซิเจน (oxygen) ผสมกับแก๊สเฉื่อย ทำโดยสภาวะสุญญากาศ ความดันตํ่าในช่วง 0.1-0.2 มิลลิบาร์ แล้วปล่อยแก๊สออกซิเจนผสมกับแก๊สเฉื่อย ให้ไหลมายังสภาวะ สุญญากาศ จนมีความดันอยู่ในช่วง 0.2-0.5 มิลลิบาร์ จากนั้นให้กำเนิดคลื่นไมโครเวฟ เป็นเวลา 10- 20 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้พื้นผิวผ่านการปรับสภาพผิวและพร้อมที่จะเกิดหมู่ฟังก์ชันกับโมเลกุลอื่น ค. จากนั้นระเหยสารตั้งต้นเข้าไปในสภาวะสุญญากาศที่มีความดัน 0.1-0.2 มิลลิบาร์ ซึ่งภายในสภาวะ สุญญากาศมีแผ่นวัสดุที่ปรับสภาพพื้นผิวเรียบร้อยแล้วที่ได้จากขั้นตอน ข จากนั้นให้กำเนิดคลื่น ไมโครเวฟ เป็นเวลา 5-10 วินาที ในขั้นตอนนี้จะได้แผ่นเคลือบผิวที่มีสมบัติไม่ชอบน้ำอย่างยิ่งยวดที่มี ความใส
2. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง อัตราส่วนระหว่าง แก๊สออกซิเจนต่อกับ แก๊สเฉื่อย เท่ากับ 7:3
3. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง แก๊สเฉื่อย เลือกได้จาก ไนโตรเจน (nitrogen) หรือ อาร์กอน (argon)
4. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง สารตั้งต้น เลือกได้จาก นํ้ามันซิลิโคนหรือ ไซลอกเซน
5. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 3 ที่ซึ่ง นํ้ามันซิลิโคน หรือ ไซลอกเซน ซึ่งเป็นพลิ เมอร์แบบออร์แกโนไซลอกเซน ที่มีโครงหลักพอสิเมอร์ (polymer backbone) เป็นสาร อนินทรีย์ ประกอบด้วยสายโซ่ของ Si-O-Si แต่มีหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ (side group) เป็นสารอินทรีย์ที่มีสมบัติ ไม่ชอบนํ้า โดยเลือกจากหมู่ฟังก์ชันข้างสายโซ่ที่มาเกาะกับสารโซ่หลัก ในที่นี้ได้จำแนกออกได้เป็น 3 กลุ่มตามหมู่ฟังก์ชัน คือ (1) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอน หรือ (2) สารจำพวกไฮโดรคาร์บอนที่มีหมู่ ฟังก์ชัน แอลคอกซี หรือ (3) สารจำพวกฟลูออโรไฮโดรคาร์บอน
6. กรรมวิธีการสังเคราะห์ขั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วยเทคนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง กำเนิดคลื่นไมโครเวฟที่ความถี่ 0.915-2.45 กิกะเฮิรตซ์ กำลัง 800-1100 วัตต์ หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า
7. กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วยเทดนิคการเคลือบ ไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่ง ตัวทำละลายอินทรีย์ เลือกได้จาก แอลกอฮอล์ หรือ อะซีโตน
8. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มุม สัมผัสของหยดนํ้าสูงกว่า 165 องศา 9.ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1-4 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง มีมุม กลิ้งตํ่ากว่า 5 องศา 1
0. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบนํ้ายิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา ตามข้อถือสิทธิ 1 - 4 ข้อใดข้อหนึ่ง มีค่าการ ส่องผ่านของแสงสูงกว่า 95% ตลอดช่วงสเปคตรัมที่ตามองเห็นคือช่วงความยาวคลื่นประมาณ 400- 750 นาโนเมตร
TH1703002359U 2017-11-27 กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา TH15352C3 (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH15352B TH15352B (th) 2019-07-11
TH15352A3 true TH15352A3 (th) 2019-07-11
TH15352C3 TH15352C3 (th) 2019-07-11

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Rau et al. Mechanisms of plasma polymerization of various silico-organic monomers
US6887578B2 (en) Fluorocarbon-organosilicon copolymers and coatings prepared by hot-filament chemical vapor deposition
NL1019781C2 (nl) Deklaag alsmede werkwijzen en inrichtingen voor de vervaardiging daarvan.
Hu et al. Clear and Durable Epoxy Coatings that Exhibit Dynamic Omniphobicity.
Wrobel et al. Polymerization of organosilicones in microwave discharges. II. Heated substrates
TWI765966B (zh) 含氟醚組成物、塗佈液及具有表面層之物品
Huang et al. Water repellency improvement of cellulosic textile fibers by betulin and a betulin-based copolymer
CN108047773A (zh) 一种可喷涂透明超双疏涂料的制备方法
Huang et al. Atmospheric pressure plasma polymerization of super-hydrophobic nano-films using hexamethyldisilazane monomer
Mitschker et al. Comparative study on the deposition of silicon oxide permeation barrier coatings for polymers using hexamethyldisilazane (HMDSN) and hexamethyldisiloxane (HMDSO)
Lau et al. Fluorocarbon dielectrics via hot filament chemical vapor deposition
Karaman et al. Plasma enhanced chemical vapor deposition of poly (2, 2, 3, 4, 4, 4‐hexafluorobutyl acrylate) thin films
TH15352A3 (th) กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา
TH15352C3 (th) กรรมวิธีการสังเคราะห์ชั้นเคลือบผิวให้มีสมบัติไม่ชอบน้ำยิ่งยวดและมีความใสด้วย เทคนิคการเคลือบไอเคมีโดยอาศัยไมโครเวฟพลาสมา
Durán et al. Beyond microelectronics with 1, 3, 5, 7-tetramethylcyclotetrasiloxane: A promising molecule for anti-fogging coatings
Zuber et al. One‐step fabrication of nanocomposite thin films of PTFE in SiOx for repelling water
Wong et al. Design of Fluoro‐Free Surfaces Super‐Repellent to Low‐Surface‐Tension Liquids
Paulussen et al. Physical and chemical properties of hybrid barrier coatings obtained in an atmospheric pressure dielectric barrier discharge
Malecha et al. A PDMS/LTCC bonding technique for microfluidic application
Kumar et al. Tailoring terpenoid plasma polymer properties by controlling the substrate temperature during PECVD
Kim et al. Antithetic superhydrophobic/superhydrophilic surfaces formation by simple gas switching in an atmospheric-pressure cold plasma treatment
Cacot et al. Soft polymerization of hexamethyldisiloxane by coupling pulsed direct‐liquid injections with dielectric barrier discharge
Da Silva et al. Study of the Stability and Hydrophilicity of Plasma‐Modified Microfluidic Materials
Nwankire et al. The effect of plasma‐polymerised silicon hydride‐rich polyhydrogenmethylsiloxane on the adhesion of silicone elastomers
Theelen et al. Localised plasma deposition of organosilicon layers on polymer substrates